ประวัติศาสตร์ ศิลปะฯ

วันวิสาขบูชา

: ฅน บางกอก

03/06/2566

………. ตามคติพุทธเถรวาท เชื่อว่าพระพุทธองค์ทรงประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานในวันเดียวกัน (ต่างปี)

……….ภาพจิตรกรรมไทยมีการแสดงสัญลักษณ์แทนพระพุทธองค์ด้วยดอกบัว ดังเช่น การปรากฏดอกบัวกลีบบานรองรับพระพุทธองค์เ…

เดินไป วาดไป: เจ้าฟ้านริศฯ กับตำหนักพรรณราย

: ฅน บางกอก

30/04/2566

……….ตำหนักพรรณราย ตั้งอยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ และเป็นหนึ่งในกลุ่มอาคาร (เรือน) ของหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรในปัจจุบัน  หากแบ่งกลุ่มเรือนโดยเคร่าตามการใช้งาน (Function) และรูปแบบ (Style) ที่ผ่านกาลเวลาม…

บันทึก เจดีย์วัดวิหารขาว (ร้าง) ๒ ริมทางรถไฟ “อยุธยา-บ้านม้า”

: ฅน บางกอก

23/04/25566

……….เจดีย์องค์นี้ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของรัฐอโยธยา (ก่อนจะเกิดกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๑๘๙๓) อาจารย์ยูร (น. ณ ปากน้ำ) ท่านเรียกพื้นที่ศูนย์กลางรัฐแห่งนี้ว่าเป็นศิลปกรรมแบบ “อโยธยา-สุพรรณภูมิ” เนื่องด้วยเป็นศิลปกรรมที่พบว่ามี “รูปแ…

๒๑ เมษายน ๒๓๒๕ การปรากฏหมุดหมายแรกของกรุงรัตนโกสินทร์

: ฅน บางกอก

21/04/2566

……….การปรากฏเสาหลักเมืองอันเป็นหมุดหมายแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ภายหลังจากการปราบดาภิเษกเพียง ๑๕ วัน มีนัยลึกซึ้งให้คนรุ่นหลังได้ศึกษามากมาย หนึ่งในนัยความหมายสำคัญคือ การสร้างแนวแกนเชื่อมความสัมพันธ์จากพื้นที่ตะวันตกของก…

เดินไป วาดไป: ก่อนวันนี้ มาฆปุณณมี

ฅน บางกอก

๐๖/๐๓/๒๕๖๖

…..วันมาฆบูชา หรือที่คนโบราณเรียกว่า “มาฆปุณณมี” เป็นวันที่ต้องเรียนและรู้กันมาตั้งแต่สมัยเด็กๆว่า

  • เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวงสวยงาม ที่เรียกว่า “เสวยมาฆฤกษ์”
  • พระสงฆ์มาประชุมร่วมกัน ๑,๒๕๐ รูป แบบมิได้นัดหมายโดยทีพระพุทธเจ้าเป็นองค์ประธาน

วาด “ดอกบัว” แทนความหมาย “พระพุทธเจ้า”

ฅน บางกอก

๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๕

……….ดอกบัว ไม้น้ำที่นอกจากจะมีความสวยงามจากรูปทรง สีสัน ที่ทำให้มีความนรู้สึกถึงความ “สบายตาและอิ่มใจ” แล้ว ยังมีคุณค่าความหมายที่ผู้คนในสังคมใช้สื่อถึงสิ่งที่มีคุณค่าและความสำคัญมากอีกด้วย ผู้คนจึงให้ความเคารพ และถือเป…

“บ่อเกลือใต้” ในบริบทความสัมพันธ์ทางภูมิวัฒนธรรมกับ “รัฐน่าน”

สวรรค์ ตั้งตรงสิทธิกุล

๑๑ มีนาคม ๒๕๖๕

…..พื้นที่ตำบลบ่อเกลือใต้ จังหวัดน่าน เป็นหนึ่งในบริเวณที่มีการตั้งชุมชนมานานแล้ว ทั้งนี้สามารถพบได้จากการเป็นแหล่งที่มีการผลิต “เกลือสินเธาว์โบราณ” มาตั้งแต่ครั้งอดีต และมีความสัมพันธ์กับการก่อร่างสร้าง “รัฐน่าน” มาตั้…

วาด ศิลปะทวารวดีบนแผ่นหินที่เคยอยู่ ณ ราชธานีกรุงศรีฯ (ภาคต่อ)

ฅน บางกอก

๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕

…..คราวที่แล้ว เล่าเรื่องแผ่นหินชิ้นที่วาดมานี้ มาจบที่ราชสำนักอยุธยาคงนำแผ่นหินภาพเล่าเรื่องทางพุทธศาสนาที่มีรูปแบบศิลปะทวารวดีกลับมาที่ราชธานี ต่อมาพบอยู่สถานที่สุดท้ายก่อนที่กรมศิลปากรจะมาดูแลต่อคือ วัดพระศรีสรรเพชญ์ โดยแผ่นหินช…

วาด ศิลปะทวารวดีบนแผ่นหินที่เคยอยู่ ณ ราชธานีกรุงศรีฯ

ฅน บางกอก

๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕

     มีโอกาสไปชมนิทรรศการถาวรที่มีการปรับปรุงใหม่ จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่ชาติพระนคร(พ.ช.พระนคร) ในนี้มีศิลปวัตถุที่ชอบหลายชิ้นเลยวาดเก็บไว้ก่อน  รวมถึงห้องทวารวดีที่เป็นพื้นที่จัดแสดงศิลปกรรมประเภทต่างๆในสมัยทวารวดี  ในนี้มีการเลือกว…

วาด “ป้อมเพชร” ในจินตนาการพร้อมกับเด็กๆ

ครูตั้ง

๑๔ มกราคม ๒๕๖๕

…..ตอนพาเด็กๆ ป.ปลาย (นักเรียนโฮมสคูล) ไปเรียนรู้จัก “ป้อมเพชร” แบบ “on site” (ตะก่อนคำนี้รู้จักมักคุ้นกันกับคนที่ต้องเรียนรู้หรือทำงานกับ “สภาพหน้างานจริง” หรือพวกงานภาคสนาม เดี๋ยวนี้มักคุ้นโดยกว้างขวางมากขึ้นแระ เพราะ “ไอโคฯ” แท้ๆ😀😁 ) ครั้…